วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554

เรื่องน่ารู้ของทับทิม

เรื่องน่ารู้ของทับทิม

ทับทิมเป็นผลไม้ที่สวยงามและมีกลิ่นหอมมาก ทับทิมเป็นผลไม้ที่ศักดิ์สิทธิ์ ในประวัติศาสตร์ พบว่าได้มีการนำทับทิมมาทำเป็นยารักษาโรคตั้งแต่ 8,000 ปีมาแล้ว
ทับทิม POMEGRANATE   ( Punica granatum L. )
ทับทิมเป็นผล ไม้ที่สวยงามและมีกลิ่นหอมมาก ทับทิมสามารถปลูกได้ในประเทศไทย แต่ที่แท้จริงเป็นผลไม้ที่มีต้นกำเนิดมาจากเปอร์เซีย (ประเทศอิหร่านในปัจจุบัน)  ทับทิมเป็นผลไม้ที่ศักดิ์สิทธิ์ ในประวัติศาสตร์ พบว่าได้มีการนำทับทิมมาทำเป็นยารักษาโรคตั้งแต่ 8,000 ปีมาแล้ว ในประเทศเปอร์เซียโบราณมีความเชื่อว่า คุณค่าทางอาหารทุกชนิดที่มีอยู่ในผลไม้ต่าง ๆ นั้น รวมกันอยู่ในทับทิม ทับทิมเป็นผลไม้ที่ได้รับการเพาะปลูกอย่างแพร่หลาย  และทำเป็นผลิตภัณฑ์ ไปทั่วโลก ในทับทิม มีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด ซึ่งมีมากทั้งใน เปลือก เมล็ด และน้ำทับทิม ได้แก่ polyphenols, anthocyanins,  anthrocyanidins, ellagic acid derivatives, และ hydrolyzable tannins

คุณประโยชน์ของ ทับทิมในตำราแพทย์สมัยโบราณ เปอร์เซีย
ใน ผลทับทิมมีวิตามินมากมายหลายชนิด รวมทั้งแมกนีเซียมและแคลเซียม ซึ่งมีประโยชน์ต่อระบบฟอกโลหิต และระบบการหมุนเวียนในร่างกาย ในตำราแพทย์โบราณของเปอร์เซีย (ซึ่งถือว่าเป็นต้นตำรับของวิชาแพทย์ตะวันตกในปัจจุบัน) ระบุว่าทับทิมมีประโยชน์มากมาย
คุณประโยชน์ ทับทิม จากการวิจัยทางการแพทย์
1. ทับทิม มีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิดที่มีประสิทธิภาพสูงมาก (อ้างอิงที่ 1 )
2. สามารถลดภาวะการสะสมไขมันในผนังเส้นเลือด ป้องกันเส้นเลือดอุดตันและแข็งตัวซึ่งจะให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือดตามมา ทั้งในคนและในหนูทดลอง ( อ้างอิงที่ 2, 3  )
3. ทำให้เส้นเลือดที่หนาตัวและมีไขมันสะสมแล้วซึ่งเป็นเส้นเลือดที่ไม่ดีแล้ว  มีความหนาตัวลดลง และลดไขมันที่สะสมลงอีกด้วยในหนูทดลอง (อ้างอิงที่ 4)
4. บำรุงหัวใจในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โดยเพิ่มการไหลเวียนที่ดีขึ้นและลดภาวะหัวใจขาดเลือดในผู้ป่วยโรคหัวใจ (อ้างอิงที่ 5)
5. ลดความดันโลหิตได้เล็กน้อย ประมาณ 5%  ในผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูง ถ้ารับประทานน้ำทับทิมวันละ 50 ซีซี เป็นเวลาสองสัปดาห์  ( อ้างอิงที่ 6 )
6. บำรุงตับ ป้องกันการเป็นพิษต่อตับ ได้ ( Hepatoprotectiv effect ) ( อ้างอิงที่ 7 ) 
7. สารต้านอนุมูลอิสระจากน้ำทับทิมมีผลยับยั้งเซลล์มะเร็งเต้านมของมนุษย์ ( Human breast cell ) ( อ้างอิงที่ 8)
8. สารสกัดจากทับทิม ช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากของมนุษย์ ทั้งการแบ่งตัวและการแพร่กระจาย  ( อ้างอิงที่ 9 )  และมีงานวิจัยที่แนะนำให้กินหวังผลในการป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมาก ( อ้างอิงที่ 10 )
สนใจติดต่อ  จิรัฏฐ์  0800658254
น้ำทับทิม กรานาดา    



  น้ำทับทิม 100% จากน้ำทับทิมเข้มข้น (ตรากิฟฟารีน) ผลิตจากน้ำทับทิมเข้มข้น
วิธีรับประทาน : รับประทานวันละ 1-2 ช้อนโต๊ะ (15-30 ซีซี ต่อวัน) เวลาใดก็ได้
ฆอ. 1871/2553
ขนาด 700 มล.
            Details  


   
รหัสสินค้า: 37319
ราคา: 580 บาท


เอกสารอ้างอิง
1. Studies on the antioxidant activity of pomegranate (Punica granatum) peel and seed extracts using in vitro models. J Agric Food Chem 2002 Jan 2;50(1):81-6
2. Pomegranate juice supplementation to atherosclerotic mice reduces macrophage lipid peroxidation, cellular cholesterol accumulation and development of atherosclerosis. J Nutr 2001 Aug;131(8):2082-9
3. Pomegranate juice flavonoids inhibit low-density lipoprotein oxidation and cardiovascular diseases: studies in atherosclerotic mice and in humans. Drugs Exp Clin Res 2002;28(2-3):49-62
4. Pomegranate juice consumption reduces oxidative stress, atherogenic modifications to LDL, and platelet aggregation: studies in humans and in atherosclerotic apolipoprotein E-deficient mice. Am J Clin Nutr 2000 May;71(5):1062-76
5. Effects of pomegranate juice consumption on myocardial perfusion in patients with coronary heart disease. Am J Cardiol. 2005 Sep 15;96(6):810-4
6. Pomegranate juice consumption inhibits serum angiotensin converting enzyme activity and reduces systolic blood pressure. Atherosclerosis 2001 Sep;158(1):195-8
7. Studies on antioxidant activity of pomegranate (Punica granatum) peel extract using in vivo models. J Agric Food Chem 2002 Aug 14;50(17):4791-5
8. Chemopreventive and adjuvant therapeutic potential of pomegranate (Punica granatum) for human breast cancer. Breast Cancer Res Treat 2002 Feb;71(3):203-17
9. Pomegranate extracts potently suppress proliferation, xenograft growth, and invasion of human prostate cancer cells. J Med Food. 2004 Fall;7(3):274-83.
10. Prostate cancer prevention through pomegranate fruit. Cell Cycle. 2006 Feb;5(4):371-3. Epub 2006 Feb 15.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น